วันอังคารที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551

บทที่ 1 ความหมายของปรัชญาและปรัชญาศาสนา
1. ความหมายของปรัชญา
2. ความหมายของปรัชญาศาสนา
3. สรุปประจำบท
คำถามท้ายบท

วัตถุประสงค์ประจำบทที่ 2
บทที่ 2 ความหมายของศาสนา
1. ความหมายของศาสนา
2. ประเภทของศาสนา
3. องค์ประกอบของศาสนา
4. สรุปประจำบท
คำถามท้ายบท

วัตถุประสงค์ประจำบทที่ 3
บทที่ 3 คุณค่าและความหมายของศาสนา
1. บริบทเกี่ยวกับกำเนิดศาสนา
2. การอธิบายความจริงของศาสนา
3. ศาสนาจากมุมมองของผู้นับถือศาสนา
4. คุณค่าของศาสนา
5. สรุปประจำบท
คำถามท้ายบท

วัตถุประสงค์ประจำบทที่ 4
บทที่ 4 ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับศาสนา
1. ศาสนาในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ
2. ศาสนาในฐานะเป็นสถาบันในสังคม
3. มนุษย์กับประสบการณ์ในศาสนา
4. มนุษย์ได้อะไรจากศาสนา
5. สรุปประจำบท
คำถามท้ายบท

วัตถุประสงค์ประจำบทที่ 5
บทที่ 5 ความสำนึกและการแสดงออกต่อการนับถือศาสนาใน รูปแบบต่างๆ
1. การวิเคราะห์แนวคิดในการอธิบายความจริงของศาสนา
2.แนวโน้มบางประการของแนวคิดทางปรัชญาและปัจจัยที่
ส่งผลต่อความสำนึกและการแสดงออกในการนับถือศาสนา
3. การวิจารณ์แนวคิดที่ปฏิเสธ/ลดทอนคุณค่าของความจริงในศาสนา
4. การทบทวนความคิดเกี่ยวกับความจริงของศาสนา
5. สรุปประจำบท
คำถามท้ายบท
วัตถุประสงค์ประจำบท

บทที่ 6 สัญลักษณ์และภาษาของศาสนา
1. นิยามของเครื่องหมาย สัญลักษณ์และภาษา
2. คุณค่าและความหมายของสัญลักษณ์และภาษาของศาสนา
3. การวิเคราะห์คุณค่าและความหมายของภาษาทางศาสนา
4. ความหมายของข้อความ/ภาษาที่ใช้ในศาสนา
5. ความหมายของภาษาในศาสนา
6. สรุปประจำบท
คำถามท้ายบท
วัตถุประสงค์ประจำบท

บทที่ 7 ขีดจำกัดการรับรู้ของมนุษย์ในเรื่องศาสนาและความพยายามข้ามพ้นขีดจำกัดดังกล่าว
1. คุณค่าและความหมายของความเชื่อศรัทธาในศาสนา
2. เหตุผลกับความเชื่อศรัทธาต่อความจริงของศาสนา
3. การอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างเหตุผลกับความเชื่อศรัทธาในศาสนา
4. การนำแนวคิดของปรัชญา มาอธิบายปัญหาเรื่องความทุกข์ตามหลักศาสนา
5. ตัวอย่างแนวคิดของปรัชญามาอธิบายคำสอนสำคัญอื่นๆ ของศาสนา
6. สรุปประจำบท